วันอังคารที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2558

Notes Tuesday September 15 2558


บันทึกการเรียนครั้งที่ 6

The knowledge gained : ความรู้ที่ได้รับ

^ - ^ การทำงานของสมอง  




        
^ -^ หลักการ / แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
นักการศึกษา
1.กีเซล          
 - พูดถึงพัฒนาการของเด็กมีการเปลี่ยนแปลงเป็นขั้นตอน
2. ฟรอยด์ 
- เด็กพัฒนาตามลำดับขั้น 5 ขั้น 
คือ ขั้นปาก 
      ขั้นทวารหนัก 
      ขั้นอวัยวะเพศ 
      ขั้นแฝงหรือขั้นก่อนวัยรุ่น
      ขั้นสนใจเพศตรงข้าม
3. อิริคสัน  
- กล่าวถึง สภาพทางจิต – สังคม รวมไปถึงลักษณะการอบรม เลี้ยงดู สัมพันธภาพระหว่าง พ่อ – แม่ ตลอดจนอิทธิพลของวัฒนธรรมในสังคม
4. เพียเจต์
- กล่าวว่า พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น 
5. ดิวอี้
- เรียนรู้โดยการลงมือกระทำ
       
หลักการจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย  จะต้องพัฒนาเด็กให้ครบทุกัฒนาการ เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมที่จัดต้องมีความสมดลยึดเด็กเป็นสำคัญ และต้องประสานสัมพันธ์กับครอบครัวและชมชน


^ - ^ การเรียนรู้แบบองค์รวม



แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์      

1. การเปลี่ยนแปลง
2. ความแตกต่าง
3. การปรับตัว
4. ความสมดุล
5. การพึ่งพาอาศัยกัน

การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์

1. ขั้นกำหนดปัญหา
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน
3. ขั้นรวบรวมข้อมูล
4. ขั้นลงข้อสรุป

เจตคติทางวิทยาศาสตร์

1.ความอยากรู้อยากเห็น
2. ความเพียรพยายาม
3. ความมีเหตุผล
4. ความซื่อสัตย์
5. ความมีระเบียบและรอบคอบ
6. ความใจกว้าง

ความสำคัญของวิทยาศาสตร์

1. ตอบสนองความต้องการของเด็ก
2. พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. เสริมสร้างประสบการณ์

ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์

1.พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน
2.พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
3.สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง


^ - ^ นำเสนอบทความ

เลขที่ 23 นางสาว สจิตรา  มาวงษ์    เรื่อง แนวทางการสอนคิดเติมวิทย์ให้กับเด็กอนบาล  
ของ ดร.เทพกัญญา พรหมขัติแก้ว

          สรุปได้ว่า  (In conclusion,)  เขาสอนวิทยาศาสตร์โดยองค์รวม ผ่านธรรมชาติรอบตัว ผ่านกิจกรรมให้เด็กได้เล่นได้สัมผัสกับธรรมชาติตามแนวทางการบูรณาการของครูผู้สอน โดยมีแนวทาง 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. การตังคำาม
2. การหาคำตอบด้วยตนเอง
3. ครูถามและเสริมในด้านของเหตุและผล
4. นำเสนอผลงาน
5. เชื่อมโยงเข้ากับวิทยาศาสตร์

เลขที่ 22 นางสาว ประภัสสร  สีหบุตร   เรื่อง เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานของเด็กปฐมวัย  
โดย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

        สรุปได้ว่า  (In conclusion,) สสวท. ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ผ่านนิทาน” ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ภาษา เสีง  ความคิดสร้างสรรค์ และมีการบูรณาการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์โดยใช้นิทานเป็นสื่อในการเรียนรู้ เด็กรู้จักเชื่อมโยงจินตนาการจากนิทานสู่การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์


เกร็ดความรู้เพิ่มเติม

- เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ผ่านการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
- เมื่อเอาการทำงานของสมองมาจัดลำดับอายุจทำให้เกิด " พัฒนาการ " แต่ละช่วงวัย


Skills : ทักษะ

1. นำเสนอบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
2. ระดมความคิด ในการเสนอแนวคิดการประดิษฐ์สื่อเกี่ยววิทยาศาสตร์

Adoption : การนำไปใช้

1. นำแนวการสอนโดยองค์รวมของเพื่อนที่นำเสนอบทความไปใช้ในการจัดการเรียนสอนได้
2. นำแนวการคิดของนักการศึกษาแต่ละท่านไปวิเคราะ - สังเคราะห์และบูรณาการใช้ในการเขียนแผนการสอนและจัดกิจกรรม


Teaching Techniques : เทคนิคการสอน

1. การใช้คำถาม - มายแม๊ปปิ้ง
2. ระดมความคิดกับเพื่อนในห้องเรียน
3. การสังเคราะห์-วิเคราะห์
4. กรณีตัวอย่าง


Assessment : การประเมิน

ตัวเอง        แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าเรียนตรงต่อเวลา ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียน

เพื่อน         แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าเรียนสาย ร่วมกันสังเคราะห์ - วิเคราะห์ เนื้อหา ระดมความคิด

                   ทุกคนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมภายในห้องเรียน

ครูผู้สอน    แต่งกายสุภาพเรียบร้อยเข้าสอนตรงเวลา สอนเข้าใจง่าย นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียน

                 ทดสอบองค์ความรู้เดิมของนักศึกษา


ห้องเรียน   ห้องสะอาดเรียบร้อย อุปกรณ์พร้อมใช้งาน






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น